ความเสื่อมทางด้านการเมือง รัฐประหาร

สำหรับการรัฐประหารนั้นหลายคนก็ยังไม่เข้าใจความหมายที่แท้จริง ว่ารัฐประหารนั้นเป็นอย่างไร มีความสัมพันธ์และสำคัญต่อระบบการปกครองประเทศและเกี่ยวข้องกับประชาชนอย่างเราอย่างไร ซึ่งจะบอกว่าระบบรัฐประหารนี้เรียกว่าสำคัญกับประเทศของเราอย่างมาก เพราะมันเป็นการกระทำในลักษณะของคอมมิวนิสต์คือเป็นการใช้อำนาจเพื่อยึดหรือล้มล้างระบบการปกครองใดปกครองหนึ่งที่ได้ปกครองมาก่อนหน้านี้แล้วเข้ามาควบคุมแทน โดยในการรัฐประหารนี้ก็มีหลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการเข้ายึดด้วยการใช้อำนาจทางการเมือง หรือเป็นการเข้ายึดโดยใช้กำลังเข้าต่อสู้และบังคับขู่เข็ญด้วยความไม่เต็มใจ ซึ่งลักษณะการรัฐประหารนี้เรียกได้ว่าเป็นการกระทำที่ขัดกับกฎของระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยเป็นอย่างมาก และถือว่าเป็น ความเสื่อมทางด้านการเมือง ก็ว่าได้  ในการรัฐประหารนั้นหากมีการรัฐประหารสำเร็จก็จะได้ปกครองประเทศ แต่หากทำการรัฐประหารไม่สำเร็จก็จะถูกจับดำเนินคดีในฐานะกบฏนั่นเอง ในประเทศไทยเองนั้นก็เกิดการรัฐประหารขึ้นหลายครั้งอยู่ทีเดียว วันนี้เราจะพามารู้จักคำว่ารัฐประหารและการรัฐประหารในประเทศไทยให้ดีขึ้น จะเป็นอย่างไรตามเรามากันเลย ความเสื่อมทางด้านการเมือง ความหมายของคุปเดตา การทำรัฐประหารนั้นไม่ได้มีแต่เพียงในประเทศไทยเท่านั้นแต่ยังมีอีกหลากหลายประเทศทั่วโลกที่เกิดขึ้น โดยการรัฐประหารในต่างประเทศนั้นมีคำเรียกโดยเฉพาะว่าคุปเดตา (Coup d’etat)   ซึ่งคำๆนี้มีรากศัพท์มาจากภาษาฝรั่งเศสโดยเป็นการรวมกันของคำสองคำ มีความหมายถึงการล้มล้างระบอบรัฐอย่างเฉียบพลัน ซึ่งรูปแบบของการทำรัฐประหารนั้นส่วนมากมักจะใช้อำนาจและความรุนแรงเข้ามาเกี่ยวข้อง  การเกิดรัฐประหารขึ้นในประเทศใดประเทศหนึ่งนั้นเรียกได้ว่าเป็นการแสดงออกถึงความเสื่อมทางด้านการเมือง เนื่องจากประเทศที่มีความเจริญหรือพัฒนาแล้วโดยใช้การปกครองแบบระบอบประชาธิปไตยแบบสมบูรณ์ การทำรัฐประหารนั้นส่วนมากมักจะไม่เกิดขึ้นหรือหากเกิดขึ้นก็จะไม่สามารถทำได้สำเร็จ  ซึ่งในการพยายามเปลี่ยนแปลงคณะการปกครองหรือคณะรัฐบาลนั้นส่วนมากมักเกิดจากกองทัพหรือกองกำลังที่เข้ามาทำการบุกยึดอย่างรวดเร็ว หากทำไม่สำเร็จก็จะเป็นการทำผิดกฏหมายหรือกลายเป็นกบฏตามที่เราได้บอกไปข้างต้น แต่หากสามารถทำได้สำเร็จกลุ่มนี้ก็จะเข้ามามีอำนาจและมีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงกฎหมายและสิ่งต่างๆเพื่อให้การกระทำของตนเองที่ทำไปนั้นไม่ผิดกฎหมาย โดยการทำรัฐประหารนั้นจะเปลี่ยนแปลงคณะการปกครองหรือคณะรัฐบาล แต่ไม่จำเป็นจะต้องเปลี่ยนเป็นระบอบคอมมิวนิสต์เสมอไป อาจจะยังใช้ระบบประชาธิปไตยอยู่เช่นเดิม แล้วแต่อุดมการณ์ของผู้ที่เข้าทำการรัฐประหารนั้น การรัฐประหารที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ประเทศไทยนั้นมีการก่อรัฐประหารเกิดขึ้นหลายต่อหลายครั้ง แต่ในการก่อรัฐประหารนั้นก็จะใช้คำว่าเป็นคณะปฏิวัติหรือคณะปฏิรูปเพื่อให้มีความรู้สึกว่าการกระทำนั้นมีความหมายไปในเชิงบวก  ซึ่งการทำรัฐประหารในไทยนั้นส่วนมากจะเป็นการเปลี่ยนแปลงคณะการปกครองหรือคณะรัฐบาลในขณะนั้น จะไม่ได้เปลี่ยนระบบการปกครองแต่อย่างใด มีการเปลี่ยนเพียงครั้งเดียวคือการเปลี่ยนจากระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบบประชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ  โดยส่วนมากการทำรัฐประหารในไทยนั้นจะเกิดขึ้นจากกองทัพบกแทบทุกครั้ง เคยมีการพยายามก่อรัฐประหารจากกลุ่มกองทัพเรือแต่ไม่สำเร็จทำให้กองทัพเรือนั้นเรียกได้ว่าสูญเสียอำนาจในทางการเมืองไป จึงเป็นเหตุผลว่าทำไมกองทัพบกจึงค่อนข้างมีอำนาจทางการเมืองมากที่สุดในบรรดาเหล่าทัพ โดยไทยนั้นมีการเกิดการรัฐประหารขึ้นมาแล้วถึง 13 ครั้ง  ตั้งแต่ครั้งแรกในปีพ.ศ.2476  จนกระทั่งถึงปัจจุบันซึ่งมีการเกิดรัฐประหารในปีพ.ศ.2557 โดยพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา  ซึ่งยังคงดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีอยู่จนถึง ณ ปัจจุบัน

Continue Readingความเสื่อมทางด้านการเมือง รัฐประหาร

จุดเริ่มต้นของความล้มเหลว ทหารมาบริหารประเทศ

ทหารมาบริหารประเทศ เรามีการเก็บสถิติหลังจากการที่มีการเกิดรัฐประหารในปี 2557 ถือว่าเป็นจุดการบริหารประเทศเริ่มต้นขึ้นเลย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของรายได้ของประชากรที่ส่วนใหญ่นั้นไม่มีรายได้เพิ่ม และไม่เพียงพอต่อการใช้จ่าย มันเลยเป็นเหตุผลที่ให้ประชากรลาวมีหนี้สินเป็นจำนวนมากเกิดขึ้น และอัตราในการว่างงานนั้นก็สูงขึ้นตามลำดับ ต้องยอมรับจากสถิติ ได้มีการยกเลิกการจ้างงานจากบริษัทหลายแห่งเลย รวมถึงการจดทะเบียนนิติบุคคลน้อยลงด้วย ไม่ว่าจะเป็นการเลิกกิจการต่างๆ เป็นต้น ทหารมาบริหารประเทศ ขาดความรู้ทางด้านเศรษฐกิจและสร้างหนี้สินทำให้ประชาชนนั้นยากจน การที่ให้คนที่มีความรู้น้อยในเรื่องของทางด้านเศรษฐกิจ เพิ่มเข้ามาการบริหารประเทศ ยกตัวอย่างเช่นประเทศอียิปต์ เกิดวิกฤตหนี้สิน โดยได้มีการยืนยันแล้วว่าถ้าเทียบกับประเทศตุรกีนั้นบอกได้เลยว่าแตกต่างกันอย่างมาก เพราะว่าประเทศอียิปต์ในการที่ทหารเข้ามาบริหารประเทศ ได้มีหนี้สินมากมายจากการกู้ยืมจากต่างประเทศอีกด้วย และยังมีการลดการขาดทุนงบประมาณอย่างรวดเร็ว ประเทศอียิปต์นั้นจำเป็นจะต้องลดการใช้จ่ายภาครัฐมากกว่าเดิมอีก ไม่ว่าจะเป็นการจ่ายให้กับประชาชน ราคาน้ำมันเบนซิน รถไฟฟ้าใต้ดิน จึงทำให้ภาครัฐนั้นทำให้ประชากรในประเทศอียิปต์มีจำนวนมากขึ้นสำหรับคนจน  ปฏิกิริยาทางเศรษฐกิจ รัฐประหารประเทศชิลี…

Continue Readingจุดเริ่มต้นของความล้มเหลว ทหารมาบริหารประเทศ

รัฐประหารในประเทศไทย ย้อนรอยการเกิดการเมืองในประเทศไทย

รัฐประหารในประเทศไทย นั้นเกิดขึ้น 13 ครั้ง การเกิดขึ้นของการรัฐประหารเกิดขึ้นจากการที่เรามาเรียกร้องประชาธิปไตยการเป็นจำนวนมากจึงทำให้มักจะเกิดการเกิดขึ้นเกี่ยวกับการรัฐประหารในประเทศไทย จะมีส่วนของทหารนั้นเข้ามาดูแลประเทศการบริหารประเทศ การที่เราเกิดมาในพื้นที่ในประเทศไทยนั้นบอกได้เลยว่าเป็นการชุมชนครั้งอย่างยิ่งที่มีเยาวชนมากมายมารวมกันประท้วง ซึ่งความเคลื่อนไหวแบบนี้จะทำให้เกิดไผ่ต่อสถาบันการเมืองอย่างว่า จึงทำให้ทหารในหน่วยงานนั้นเข้ามาจัดแจงแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เดี๋ยวเรามาย้อนรอยกันดีกว่าว่าในประเทศไทยนั้นเกิดขึ้นครั้งแรกตั้งแต่เมื่อไหร่ รัฐประหารในประเทศไทย ครั้งแรก 1 เมษายน 2476 เป็นการเปลี่ยนแปลงครั้งแรกที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยเลยด้วยการเปลี่ยนแปลงนั้นเกิดขึ้นในปี  2476 โดยมีผู้นำในการจัดตั้งรัฐประหารนั้นได้แก่ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา ซึ่งในเวลานั้นเขาได้เป็นนายกรัฐมนตรีและได้ออกประกาศว่าจะจัดตั้งทีมงานชุดใหม่ขึ้นรัฐมนตรีชุดใหม่ และงดใช้กฎหมายรัฐธรรมนูญบางมาตราที่เกิดขึ้นในประเทศไทย เป็นการรัฐประหารครั้งแรกในประเทศไทยเลย  เป็นการเข้าควบคุมพื้นที่ที่สังคมนั้นเกิดการขัดแย้งกันเพื่อให้ประเทศชาตินั้นสงบสุข และโดยมีบางกลุ่มนั้นในช่วงนั้นภาษาการยื่นเรื่องถึงพระราชบัญญัติ โดยบอกว่าสร้างวีรกรรมทำให้รัฐบาลนั้นวุ่นวาย ครั้งที่ 2  วันที่ 20 มิถุนายน…

Continue Readingรัฐประหารในประเทศไทย ย้อนรอยการเกิดการเมืองในประเทศไทย

เศรษฐกิจประเทศไทย พ.ศ. 2564

ต้องบอกเลยว่าปัญหา เศรษฐกิจ ปีนี้เป็นผลกระทบมาจากการเกิดไวรัสcovid-19ตั้งแต่พ.ศ.2563 แล้ว จึงทำให้เศรษฐกิจในประเทศไทยตกต่ำเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นทางอุตสาหกรรมในการผลิตส่งออกต่างๆ รวมถึงเศรษฐกิจทางท่องเที่ยวอีกด้วย และยังมีปัญหาหน้าแล้งอีกด้วยที่ไม่สามารถมีน้ำมาใช้ในการเกษตร และยังมีปัญหาทางเลือกรายจ่ายประจำปี ทุกปัญหาเหล่านี้รุมเร้าเข้ามาอย่างมากในปี 2564 เศรษฐกิจ การส่งออกสินค้า บอกเลยว่าไม่ใช่ประเทศไทยอย่างเดียวที่ได้รับปัญหานี้เพราะการส่งออกสินค้านั้นระหว่างประเทศ ก็เกิดปัญหาไวรัสโควิช- 19 เช่นกันที่ได้รับผลกระทบนี้ จึงทำให้มีการส่งออกล่าช้าเป็นอย่างมากระหว่างประเทศ และในงานต่างๆที่ผลิตสินค้าส่งออกนั้นยังเกิดปัญหาพนักงานติดไวรัสซึ่งทำให้บริษัทต้องปิดทำการชั่วคราว ต้องแข่งขันในเรื่องการฟื้นฟูเศรษฐกิจในแต่ละประเทศว่าใครดีกว่ากัน การท่องเที่ยว การท่องเที่ยวยังมีผลกระทบน้อยกว่าการส่งออกสินค้าเมื่อเทียบกัน ทุกครั้งที่เศรษฐกิจย่ำแย่นั้น การท่องเที่ยวนี้แหละสามารถฟื้นตัวได้เร็วกว่าเศรษฐกิจและอื่นๆเป็นอย่างมาก สามารถปกครองการท่องเที่ยวไว้ค่อนข้างดี ก็อยู่ที่การสร้างความมั่นใจให้นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมาเที่ยวประเทศไทยมากขึ้น ถือว่าการท่องเที่ยวจะมีการสนับสนุนจากรัฐบาลในเรื่องการเงินให้สามารถประคองอยู่ได้ การเงิน เศรษฐกิจต้องชะลอตัวไม่ว่าจะเป็นในการส่งออกจึงทำให้มีบริษัทหลายแห่งนั้นยกเลิกจ้างพนักงาน เพิ่งเห็นรถรัฐบาลนั้นเอาเงินมาผ่อนคลายให้แก่ประชาชน…

Continue Readingเศรษฐกิจประเทศไทย พ.ศ. 2564

คุณสมบัติที่ผู้นำขาดไปไม่ได้

ขึ้นชื่อว่าผู้นำแล้วก็จำเป็นจะต้องยอมเสียสละในหลายๆสิ่งหลายๆอย่าง เพื่อให้ได้มายังเป้าหมายและสิ่งที่คาดหวังสิ่งที่ต้องการเอาไว้ดังนั้นต้องบอกเลยว่า สำหรับการที่จะเป็นผู้นำได้แล้วต้องรู้จักหลายๆสิ่งหลายๆอย่างยอมเสียสละเล็กๆน้อยๆอย่างน้อย ก็เพื่อซื้อใจลูกน้องหรือให้กำลังใจลูกน้องไม่บันทอนจิตใจ มันจะเป็นตัวช่วยที่ทำให้คุณนั้นสามารถเป็นผู้นำที่ดีได้ รับฟังผู้อื่น ขาดไปไม่ได้เลยก็คือการรับฟังผู้อื่นไม่ใช่ว่าคุณเป็นผู้นำแล้ว คุณจะพูดอะไรก็ได้คุณจะทำอะไรก็ได้คิดอะไรก็จะทำแต่ขอบอกเลยว่า มันไม่ใช่ผู้นำที่ดีจำเป็นจะต้องรับฟังปัญหาที่เกิดขึ้น และควรตัดสินใจอย่างเท่าเทียมสิ่งที่สำคัญก็คือไม่ทำให้มันส่งผลกระทบต่อการทำงาน รู้จักพูดคุยรับความรู้สึกของลูกน้องรวมถึงความเห็นต่างๆ เชื่อได้ว่าถ้าเป็นผู้นำองค์กรหรือผู้นำนั่งอยู่แต่ในห้องก็ไม่สามารถนำใครได้  ซื่อสัตย์ เป็นสิ่งที่ขาดไปไม่ได้ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหรือลูกน้องคือความซื่อสัตย์ มันคือสิ่งที่ดีมันเป็นสิ่งที่ทำให้สามารถทำอะไรได้ตรงไปตรงมา และเชื่อได้เลยว่ามันจะเป็นสิ่งที่เป็นตัวช่วยที่ทำให้ปฏิบัติกับทุกคนได้อย่างเท่าเทียม ทำเพื่อทุกๆคนไม่ทำเพื่อตัวเองไม่ทำเพื่อประโยชน์ส่วนตัว มองส่วนรวมเป็นหลักเพื่อให้มันมีความโปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้การจะเป็นผู้นำคนต้องสร้างความน่าเชื่อถือเป็นสิ่งสำคัญ ให้เกียรติผู้อื่น ถึงคุณจะเป็นผู้นำก็ตามถ้าคุณอยากได้รับเกียรติจากคนอื่น คุณก็ควรที่จะให้เกียรติคนอื่นด้วยเช่นเดียวกันคุณลองคิดดูสิว่า ถึงคุณจะเป็นหัวหน้าเป็นผู้นำคุณสามารถสั่งใครทำอะไรก็ได้แล้ว ถ้าวันนึงคุณไม่ให้เกียรติใครและถ้าเขาไม่ให้เกียรติคุณบ้างคุณจะรับได้ หรือไม่ไม่ว่าจะเป็นผู้นำหรือว่าเป็นลูกน้องก็คนเหมือนกันทั้งนั้น ดังนั้นมันเป็นสิ่งที่ควรทำผู้นําที่ดีควรมีอยู่ในตัว

Continue Readingคุณสมบัติที่ผู้นำขาดไปไม่ได้

ความสำคัญของความเป็นประชาธิปไตย

มันเป็นระบอบที่สามารถทำให้ทุกคนรวมถึงประชาชน สามารถที่จะมีส่วนร่วมในการปกครองได้ในหลายๆรูปแบบ ดังนั้นต้องบอกเลยว่าจำเป็นจะต้องมีการเลือกตัวแทนเพื่อให้ไปทำหน้าที่การปกครอง ไม่ว่าจะเป็นระดับท้องถิ่นหรือแม้แต่ระดับที่สูงกว่า และต้องบอกเลยว่ามันมีความสำคัญมากๆเพราะมันจะทำให้เราทุกคนนั้นสามารถใช้สิทธิ์ใช้เสียงได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงต้องบอกเลยว่ามันเป็นสิ่งที่สำคัญมากๆ ที่ทุกคนควรจะรู้เอาไว้  ทำไมเราจึงควรมีประชาธิปไตย ด้วยความที่บ้านเมืองของเรานั้นเป็นบ้านเมืองที่ใช้ระบอบประชาธิปไตยในการควบคุม ดังนั้นต้องบอกเลยว่ามันเป็นระบบที่เราสามารถออกสิทธิ์ออกเสียง มีความคิดเป็นของตัวเองได้ซึ่งมันจะเป็นสิ่งที่ดีอย่างแน่นอน เพราะว่ามันจะเป็นสิ่งที่ทำให้เราสามารถตรวจสอบคนที่เราเลือกไป เพื่อทำงานให้กับประเทศได้ว่าเขานั้นทำงานได้ดี หรือมีการทุจริตอะไรหรือเปล่าและเราสามารถตรวจสอบได้ด้วย ส่วนร่วมในการพัฒนา ประชาชนทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนาได้ ดังนั้นจึงต้องบอกเลยว่าในบางครั้งเราทุกคนก็ควรให้ความสนใจการเมือง และควรศึกษาหาความรู้ไว้บ้างเพื่อที่จะได้ทำให้เราสามารถติดตามข่าวต่างๆ ได้ทันเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นหนังสือพิมพ์โทรทัศน์หรือแม้แต่กระทั่งวิทยุ ดังนั้นต้องบอกเลยว่าเราสามารถฟังความคิดเห็นของผู้อื่นได้ และเราก็จำเป็นที่จะต้องใช้เหตุผลในการแยกแยะสิ่งต่างๆ และยึดถือความถูกต้องเพื่อให้ได้ประโยชน์แก่ส่วนรวม  ปัญหาที่พบเจอ ถึงแม้ว่าบ้านเมืองของเรานั้นจะเป็นแบบประชาธิปไตยก็ตาม แต่มีประชาชนจำนวนมากที่ไม่ค่อยสนใจการเมืองสักเท่าไหร่นัก ดังนั้นจึงทำให้ไม่ค่อยมีความรู้เกี่ยวกับทางด้านนี้และระบบการเมืองในบ้านเรานั้น ก็ยังไม่มีประสิทธิภาพมากพอเราจะเห็นได้เลยว่าในสภายังมีการแบ่งแยก ยังมีการซื้อสิทธิ์ขายเสียงกันอยู่เลยยังมีค่านิยมระบบอุปถัมภ์และระบบการเมือง ก็ไม่ค่อยเปิดโอกาสให้กับผู้มีความรู้หรือคนที่มีคุณสมบัติที่น่าสนใจ

Continue Readingความสำคัญของความเป็นประชาธิปไตย

ทำไมเราจึงควรที่จะใช้ประชาธิปไตย

มันก็เป็นเหมือนตัวแทนที่เป็นแกนกลางของสังคมพวกเราทุกคน ต้องอยู่ในกรอบในเขตทุกคนมีประชาธิปไตยเป็นของตัวเอง ดังนั้นถึงแม้ว่าทุกวันนี้เราจะไม่รู้ว่าประชาธิปไตยที่เรามีอยู่นั้น มันจริงแท้แค่ไหนก็ตามแต่มันก็เป็นระบบที่สามารถทำให้ผู้คนทุกๆคน สามารถออกสิทธิ์ออกเสียงในสิ่งที่ตัวเองคิดได้ ถึงแม้ว่าในทุกวันนี้มันจะเสี่ยงก็ตามและมันก็เป็นสิ่งที่อยู่คู่กับคนไทยมานานแสนนาน โดยเราจะฟังแล้วคุ้นหูก็คือระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ให้สิทธิ์ในการคิด คำว่าประชาธิปไตยนั้นมันเป็นสิ่งที่ทำให้ประชาชนอย่างเราทุกๆคนนั้น สามารถมีสิทธิเสรีภาพในการคิดในหลายๆด้านได้เป็นการเปิดกว้างทางความคิด และสามารถที่จะแสดงออกมาได้อย่างอิสระทางความคิด ดังนั้นต้องบอกเลยว่ามันเป็นอีกหนึ่งสิ่งที่เราสามารถแสดงจุดยืนของเราได้ และเชื่อได้เลยว่ามันจะเป็นสิทธิ์ที่ทำให้เรานั้นมีการพัฒนาในหลายๆสิ่งหลายๆอย่าง จึงทำให้มีการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นด้านวิทยาศาสตร์ด้านเทคโนโลยีหรือแม้แต่ด้านสังคมก็ตาม ลดความรุนแรง หลายๆคนก็คงจะงงกันอย่างแน่นอนว่า มันจะเป็นตัวช่วยลดความรุนแรงได้อย่างไรเนื่องจากประชาธิปไตยนั้น มันจะแก้ไขปัญหาความขัดแย้งโดยที่ไม่ใช้ความรุนแรง ก็คือประชาธิปไตยคือสิ่งที่ทำให้ประชาชนทุกๆคน ไม่ว่าจะใครก็ตามมีดีมีจนอะไรก็ว่ากันไปสามารถออกสิทธิ์ออกเสียงได้เต็มที่  และมีอำนาจในการต่อรองมันจะเป็นสิ่งที่ทำให้เป็นการเยียวยาอย่างดีที่สุด มันเป็นการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งเพราะเชื่อเลยว่าแต่ละคนนั้นก็มีความเห็นที่แตกต่างกัน ตรวจการทำงาน การที่เราเป็นประชาชนและสามารถตรวจการทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐได้ จึงเป็นสิ่งที่ทำให้เจ้าหน้าที่รัฐนั้นไม่สามารถที่จะทำทุจริตได้ ถึงแม้ว่าจะทุจริตได้แต่ก็อาจจะถูกจับได้ ดังนั้นจึงเป็นการลดการทุจริตลงได้เพราะในตัวมนุษย์เรานั้นเชื่อได้ว่ากิเลสตัณหา มันเป็นสิ่งที่เกิดมาพร้อมกับมนุษย์ ดังนั้นเราจึงจำเป็นจะต้องมีสิทธิตรวจสอบเพื่อที่จะทำให้การทำงานเป็นไปได้ด้วยดี และใช้เงินภาษีของประชาชนจ่ายและรู้สึกว่ามันคุ้มค่าโปร่งใส…

Continue Readingทำไมเราจึงควรที่จะใช้ประชาธิปไตย